เรียนรู้วรรณคดี

๑. ความหมายของวรรณคดี วรรณกรรมวรรณศิลป์ และวรรณคดีมรดก

________________________________________________

พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พุทธศักราช ๒๕๕๔ ให้ความหมายของ วรรณคดีวรรณกรรม

๒. องค์ประกอบของวรรณคดี

________________________________________________

องค์ประกอบสําคัญของวรรณคดี ประกอบด้วยรูปแบบ เนื้อหา และศิลปะการประพันธ์มีรายละเอียดดังนี้

๓. ประเภทของวรรณคดี

________________________________________________

การแบ่งประเภทของวรรณคดี มีแนวทางและใช้เกณฑ์ในการแบ่งประเภทที่แตกต่างกัน สามารถสรุปแนวทางในการแบ่งประเภทของวรรณคดีได้อย่างกว้างๆ ดังนี้

๔. แนวทางการพินิจวรรณคดี (ด้านวรรณศิลป์)

________________________________________________

คำว่า พินิจ ตามความหมายที่พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พุทธศักราช ๒๕๕๔ กล่าวไว้ หมายถึง ก. พิจารณา ตรวจตรา การพินิจวรรณคดี คือ การพิจารณาวรรณคดีในด้านต่าง ๆ อย่างละเอียด ลึกซึ้ง เพื่อให้การอ่านหรือการศึกษาวรรณคดีเรื่องใดเรื่องหนึ่ง เกิดความเข้าใจแจ่มแจ้งและเห็นคุณค่าของวรรณคดีเรื่องนั้นโดยมีหลักการพินิจวรรณคดีในหัวข้อต่าง ๆ ดังนี้

๕. คุณค่าวรรณคดีไทย

________________________________________________

การอ่านวรรณคดีย่อมทำให้ผู้อ่านและผู้ที่ศึกษาเกิดความเพลิดเพลิน ได้รับรู้และเข้าใจถึงอารมณ์ ความรู้สึกนึกคิด จินตนาการ และเห็นกวีทัศนะที่สะท้อนผ่านเรื่องราวต่าง ๆ การอ่านวรรณคดีนอกเหนือจากความสุนทรียะแล้ว ผู้อ่านและผู้ศึกษาวรรณคดีจะต้องพินิจถึงคุณค่าของวรรณคดีในด้านต่าง ๆ ที่ได้รับจากวรรณคดีเรื่องนั้น ๆ ด้วย เพราะจะทำให้ผู้อ่านและผู้ศึกษาเกิดความรู้ รวมถึงได้รับประโยชน์ต่าง ๆ จากวรรณคดี การพินิจคุณค่าวรรณคดีมีแนวทางอย่างกว้างๆ ดังนี้